อาการมะเร็งเต้านมเป็นยังไง มีอะไรบ้าง Options

หาความรู้เพิ่มเติมเรื่องมะเร็งเต้านม โดยถามแพทย์ถึงชนิด ระดับ และสถานะตัวรับฮอร์โมนของมะเร็ง ข้อดีและข้อเสียของวิธีการรักษาแต่ละแบบ 

ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับโรค มะเร็งเต้านม ได้ที่นี่*

การได้รับรังสีในปริมาณสูงตั้งแต่วัยเด็กหรือวัยสาว

     ยาในกลุ่มนี้จัดเป็นยากลุ่มใหม่ เช่น ยาต้านเฮอร์ทู ซึ่งมีกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างจากยากลุ่มเดิมๆ กล่าวคือ เซลล์มะเร็งเต้านมในผู้ป่วยบางรายจะมีตัวรับสัญญาณเฮอร์ทูอยู่ที่ผิวเซลล์ ทำให้สามารถใช้ยาดังกล่าวเพื่อจับกับตัวรับสัญญาณเหล่านี้และให้ยาออกฤทธิ์ทำลายเซลล์มะเร็งดังกล่าวได้ ดังนั้นเซลล์อื่นๆ ที่ไม่มีตัวรับสัญญาณก็จะไม่ได้รับผลกระทบจากยากลุ่มนี้ อย่างไรก็ตาม แม้ว่ายาในกลุ่มนี้จะเป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีรักษาได้ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง มีผลข้างเคียงน้อยกว่ายาเคมีบำบัด แต่ก็มีข้อจำกัดที่สามารถใช้ได้กับผู้ป่วยบางรายเท่านั้น นอกจากนี้ยายังมีราคาแพงมาก ดังนั้นจึงควรปรึกษาแพทย์ผู้รักษาเกี่ยวกับการใช้ยาดังกล่าว

ผลข้างเคียงจากการรักษามะเร็งเต้านม

บริษัทสมิติเวช จำกัด (มหาชน) เอกสารประกาศความเป็นส่วนตัว ข้อกำหนดการใช้งาน

เข้าสู่ระบบด้วยอีเมล เข้าสู่ระบบด้วยหมายเลขโทรศัพท์ ขณะนี้ อาการมะเร็งเต้านม ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก

ผลข้างเคียงจากการผ่าตัด เช่น การเสียเลือด, แผลผ่าตัดติดเชื้อ, การสูญเสียเนื้อเยื่อ และเสี่ยงต่อการดมยาสลบ

ผู้หญิงที่มีเต้านมขนาดใหญ่ให้ใช้มือข้างที่จะตรวจประคอง และตรวจคลำเต้านมจากด้านล่าง ส่วนมืออีกข้างหนึ่งตรวจคลำจากด้านบน

การคลำเต้านมในท่านั่ง ให้ตรวจให้ทั่วพื้นที่ของบริเวณเต้านมโดยรอบ โดยการใช้ด้านฝ่ามือของนิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง (บริเวณที่ค่อนไปทางปลายนิ้ว เพราะเป็นตำแหน่งที่ไวต่อการสัมผัส) การคลำเต้านมให้คลำในลักษณะคลึงเป็นก้นหอยเล็ก ๆ ไปตามเต้านม เนื่องจากตำแหน่งของเต้านมที่อยู่บนผนังหน้าอกเป็นตำแหน่งที่สามารถตรวจพบก้อนมะเร็งเต้านมได้ ต่อมาให้สังเกตความผิดปกติว่ามีของเหลวหรือเลือดออกมาจากหัวนมในขณะที่กดบริเวณปานนมหรือไม่ (การบีบบริเวณหัวนมควรทำอย่างเบามือ เพราะถ้ามีความผิดปกติจริงจะพบว่ามีน้ำหรือเลือดออกจากหัวนมเมื่อมีการกดได้โดยไม่ต้องบีบเค้น) จากนั้นให้ใช้นิ้วมือคลำบริเวณเต้านมส่วนที่อยู่ใต้รักแร้ว่ามีก้อนหรือต่อมน้ำเหลืองที่โตผิดปกติหรือไม่ (ให้ห้อยแขนลงมาเพื่อให้กล้ามอกหย่อนลง จะได้คลำรักแร้ได้อย่างชัดเจน)

คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้เราสามารถนับการเข้าชมและแหล่งที่มาของการเข้าชมเพื่อให้เราสามารถวัดผลและปรับปรุงประสิทธิภาพของเว็บไซต์ของเราได้ โดยช่วยให้เราทราบว่าหน้าใดได้รับความนิยมมากที่สุดและน้อยที่สุดและดูว่าผู้เยี่ยมชมเคลื่อนไหวในเว็บไซต์อย่างไร ซึ่งคุกกี้จะเก็บรวมรวมข้อมูลเหล่านี้ทั้งหมด หากคุณไม่อนุญาตคุกกี้เหล่านี้ เราจะไม่ทราบว่าคุณได้เยี่ยมชมไซต์ของเราเมื่อใด และจะไม่สามารถตรวจสอบประสิทธิภาพของคุกกี้ได้ รายละเอียดคุกกี้

รู้จักกับบริษัทของเรา เพื่อความมั่นใจที่มากขึ้น

อายุที่มากขึ้น: ความเสี่ยงของโรคมะเร็งเต้านมเพิ่มมากขึ้นตามอายุ 

ความเสี่ยงที่สามารถควบคุมได้ : รูปแบบการใช้ชีวิตประจำวันทั้งการดื่มแอลกอฮอล์ ไม่ออกกำลังกาย รวมไปถึงการทำกิจกรรมที่ได้รับรังสีในปริมาณสูง หรือการทานยาคุม เป็นต้น

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *